ReadyPlanet.com
dot
Our Product by SilkLeaf
dot
bulletCatalogue
bulletProducts
dot
บ้านนี้มีอะไร
dot
bulletBreastfeeding/Baby
bulletBaby Wearing/Baby Sling
bulletBe Happy-Food/Herb
bulletBusy Busy please relax
bulletPregnancy/Birth/Mamy
bulletProfessional
bulletประชุม สัมมนา
bulletแนะนำหนังสือ
dot
อยากรู้ต้องอ่าน / สนับสนุน
dot
bulletLact Med.Search-Medication & BF
bulletมูลนิธิส่งเสริมการคลอดและเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แห่งประเทศไทย
bulletInternational Lactation Consultant Association:ILCA
bulletIBLCE
dot
BLOG
dot
bulletBirth a Baby BLOG in Thai
bulletBreastfeeding BANGKOK BLOG in English
dot
ขอข้อมูลเพิ่มเติม

dot
dot
E-Learning
dot
bullet เรียน online-Stanford's short course on Breastfeeding
bullet เรียน online-U of Minnesota center of spiritual
bulletเรียน online USAID Global Health E-learning Center
bulletเรียน online กับ มหาวิทยาลัยCornell เรื่อง Nutrition
bulletเรียนonline กับOpen2Study Australia
bulletเรียนOnlne กับ Health e-learning Free
bulletเรียนonline Gold Lactation Conferences
dot
Online Journal
dot
bulletJournal of Neonatal Nursing
bulletMIDIRS/ Midwifert Digest
bulletJournal of Midwifery & Women's Health
bulletBritish Journal of Midwifery
bulletWomen and Birth Journal
bulletJournal of Human Lactation
bulletPediatrics
bulletThe Royal College of Midwives:RCM publication
bulletBirth Journal
dot
Resource
dot
bulletMidwifery Today
bulletThe Rainbow Room
bulletInfant Risk Center
dot
องค์กรด้านสุขภาพและครอบครัว
dot


มูลนิธิส่งเสริมการคลอดและเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แห่งประเทศไทย
BAMBI:A Project of Childbirth&Breastfeeding Foundation of Thailand
Thai Breastfeeding Center
Hale Publishing
Rainbow Room
สมาคมพยาบาลนมแม่ประเทศไทย


Too Much 0r Too Little
มากไป...น้อยไป...
 
น้ำนมมาก น้ำนมน้อยยังเป็นข้อสงสัยและบางครั้งกลับกลายเป็นการแปลความหมายผิดไปในทางตรงข้ามมาแล้วก็มี ด้วยความที่เราต่างมองไม่เห็นทั้งน้ำนมในเต้านมแม่และน้ำนมที่เข้าไปอยู่ในกระเพาะอาหารน้อยๆของลูกทำให้เกิดความคลางแคลงสงสัยจนลุกลามไปเป็นความวิตกกังวลจนน้ำนมที่พรั่งพรูลดหายไปก็มีมาแล้วเพราะวิธีการทำให้น้ำนมมีมากสวนทางกับการทำน้ำนมสมดุลกับความจุของกระเพะเล็กๆของลูกในช่วงเวลาที่ลูกค่อยๆเติบโตทีละเล็กทีละน้อย ขนาดของกระเพาะอาหารทารกในวันแรกจะสามารถรับปริมาณน้ำนมได้เพียง 4-5 ซีซี ดังนั้นจึงกินได้ทีละน้อย ในขณะที่แม่เองจะเริ่มหัวน้ำนมหรือ colostrums ซึ่งวันหนึ่งจะมี 25-75ซีซี   พอผ่านไป 2-3 วันน้ำนมจะเริ่มมีมากขึ้นเป็น  150-170 ซีซีต่อวัน ในขณะที่ความจุของกระเพาะลูกก็เพิ่มขึ้นเป็น  20-30ซีซี  และก็จะเพิ่มตามกันไปทั้งน้ำนมแม่และกระเพาะอาหารของลูก ตามอายุ 
 
ลูกควรได้รับการกระตุ้นให้ดูดนมจากอกแม่ 8-10 ครั้งในหนึ่งวัน ในช่วงสัปดาห์แรกๆเพื่อช่วยกระตุ้นการสร้างน้ำนมและรักษาระดับการผลิตน้ำนมให้เพิ่มขึ้นตามการเติบโตของลูก แต่เด็กในวันสองวันแรกจะหลับเสียส่วนใหญ่ ถ้าหลับนานเกินไปก็จะได้ดูดนมน้อย ได้สารอาหารและน้ำน้อยไปก็พาลหมดเรี่ยวหมดแรงหลับมากเข้าไปอีกไปๆมาๆทำให้ตัวเหลืองมากขึ้นจึงต้องกระตุ้นให้กินนมบ่อยขึ้นเพื่อสารที่ทำให้ตัวเหลืองนั้นขับออกมาทางอุจจาระ แต่ถ้าลูกได้กินนม8-10 ครั้งต่อวันถ่ายอุจจาระ สักวันละครั้ง  ปัสสาวะ สัก 6-8 ครั้งแสดงว่าได้รับน้ำและอาหารเพียงพอแล้ว  ปัญหาน้ำนมน้อยจึงต้องดูจากการเพิ่มขึ้นน้ำหนักลูก ส่วนมากพบว่าอาจให้กินน้อยไป หรือการดูดไม่ถูกต้องทำให้ลูกไม่ได้น้ำนม การป้องกันและแก้ไขน้ำนมที่คาดว่าน่าจะน้อยก็ต้องยึดหลัง ดูดโดยเร็ว ดูดบ่อย ดูดถูกวิธีและพยายามให้กินจนเกลี้ยงเต้า
 
เรื่องของน้ำนมที่ผลิตออกมาอย่างดีและพอสำหรับลูกแน่ๆแต่กลับถูกแปลความหมายว่ามีไม่พอนี่สิกลับเป็นปัญหาใหญ่เพราะไปแก้กันคนละทิศละทาง อาการนี้มักพบในช่วงหลังวันที่ 4-5 ไปจนถึงสัปดาห์ที่ 2-3 หลังคลอเพราะเป็นช่วงปริมาณน้ำนมแม่จะมีมากถึงวันละ 500-750 ซีซีหรือมากกว่านี้ก็มี เวลามีน้ำนมในเต้ามากเมื่อลูกดูดสักครู่น้ำนมที่เต็มเต้าจะไหลอย่างเร็วเป็นจำนวนมากจนบางครั้งลูกกลืนไม่ทันเกิดอาการหงุดหงิดร้องไห้ ผลักหนีไม่ยอมดูดนมอาการนี้บางทีไม่มีน้ำนมพุ่งออกมาให้เห็นแม่ก็จะสงสัยว่าน้ำนมคงไม่มีลูกเลยหงุดหงิดส่วนแม่ก็มักจะนมคัด นมค้างเต้า การแก้ไขทำได้โดยลดความเร็วและแรงของน้ำนมโดยการให้นมในท่านอนหรือกึ่งนั่งกึ่งนอน อุ้มลูกให้ศีรษะสูงขึ้น อาจบีบน้ำนมออกบ้างเล็กน้อยเพื่อให้ลานนมนุ่มขึ้นแต่ไม่ควรใช้ปั้มหรือบีบน้ำนมออกจนเกลี้ยงเต้าเพราะจะเป็นการกระตุ้นการสร้างน้ำนมที่มากเกินความต้องการของลูก ควรให้กินจนเกลี้ยงเต้าเป็นข้างๆไป ช่วงที่น้ำนมไหลเร็วและมีจำนวนมากมักทำให้ลูกมีลมในท้องเยอะแต่จะดีขึ้นเมื่อกินจนเกลี้ยงเต้า ควรอุ้มเรอนม จะใช้เวลาปรับสมดุลนี้ประมาณ 3-4 วันหรืออาจถึงสัปดาห์ แต่สิ่งเหล่านี้ไม่มีอันตรายเพียงแต่ต้องค่อยเป็นค่อยไป
 
บทความโดย มีนะ สพสมัย RNM,IBCLC



Breast...Breastfeeding

เต้านมเล็กจะเต้านมเล็กจะมีน้ำนมพอให้ลูกกินไหม
ขนาดหน้าอกไม่เท่ากัน เพราะให้ลูกดูดนมข้างเดียว
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าน้ำนมเสียต้องทิ้ง?
ถ้าไม่ใช้เครื่องปั้มจะบีบน้ำนมอย่างไร?
เจ็บหัวนม หัวนมแตก ควรให้ลูกกอนนมต่อไหม?
หากหัวนมเป็นแผลจนเลือดออกหรือแผลเป็นหนองสามารถให้ลูกกินนมแม่ได้ไหม?
แม่ป่วยหรือต้องอยู่ในระหว่างการรักษาต้องหยุดให้นมไหม?
ไม่ทันได้เตรียมเต้านม เตรียมตัวตอนท้องจะให้นมลูกได้ไหม?
กินยาแก้แพ้ส่งผลต่อน้ำนมไหมคะ ?!
วิธีสังเกตดูสีน้ำนมแม่
การเก็บรักษานมแม่ไว้นอกเต้า article
จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกอิ่มแล้ว
เวลาจะให้ลูกกินนมที่แช่ไว้ต้องทำอย่างไร?
เก็บน้ำนมได้นานแค่ไหน?
ต้องให้ลูกกินนมแม่นานเท่าไร article
ถ้าต้องไปทำงาน จะเก็บน้ำนมอย่างไร?
ควรเริ่มให้กินนมแม่เมื่อไร? 🤱
🚨 ผู้ใหญ่บอกให้งดของแสลง แล้วของต้องห้ามของแม่ที่ให้นมลูกต้องระวังคืออะไรค่ะ?
น้ำนมน้อยอย่างไรดี 🤱
กลุ้มใจ...น้ำนมไม่ไหลทำอย่างไรดี article
น้ำนมแม่ปกป้องสายตาเจ้าตัวเล็ก
การคุมกำเนิดกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ article
นมไหนว่าแน่ นมแม่แน่กว่าใคร article
“ทำอึ๋ม” อุปสรรคให้นมแม่
นมแม่แน่ยังไง
ลักษณะของน้ำนมแม่
อะไรช่วยให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนำ้นมแม่ได้สำเร็จ
เด็กเล็กควรดูแลอย่างไรในภาวะน้ำท่วม
นมแม่ แน่กว่าเป็นไหนๆ
กินนมแม่อย่างไรป้องกันภัยจากโรคหวัดสายพันธ์ุใหม่2009 article
นมแม่ครั้งแรกไม่ยากอย่างที่คิด
เรื่องของเต้านมและน้ำนม
อุ้มลูกดูดนมแม่อย่างถูกวิธี
เด็กไทยในยุคนมมหาภัย
เตรียมหัวนมก่อนคลอด
BPA : คุณภาพหรือมาตราฐานที่ต้องรู้สำหรับขวดนม
เทคนิกการคำนวณนมแม่
ให้ลูกกินนมแม่ทำอย่างไร article
สัปดาห์นมแม่โลก 2554 นมแม่ บอกทั่วทิศ ด้วยจิตอาสา
WBW2009 BF in emergency
World Breastfeeding Week 2010 : สัปดาห์นมแม่โลก 2553
สายใยรักนมแม่ cafe :22 พฤศจิกายน2552
WBW2009
Breastfeeding Cafe article
baby
เด็กเกิดมาเพื่อให้โลกนี้งดงามและผาสุก article
โรงพยาบาลสายใยรัก article